ลิเนียร์ไกด์ของ HIWIN

ลิเนียร์ไกด์ของ HIWIN

ลิเนียร์ไกด์ถูกออกแบบมาให้สามารถรับน้ำหนักและมีความแข็งแรงสูงเมื่อเทียบกับสินค้าชนิดอื่นๆที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน ด้วยการออกแบบโครงสร้างภายในที่เป็นสถาปัตยกรรมทางกลที่เรียกว่า circular arc groove ทำให้มีคุณสมบัติในการรับน้ำหนักได้ในทุกทิศทาง ทั้งในแนวรัศมี แนวตรงข้าม หรือแนวด้านข้าง...

ประเภทของ Temperature Controller

ประเภทของ Temperature Controller

ในการทำงานของ Temperature Controller นั้น จะเริ่มต้นที่การตั้งค่าที่ส่วนของ SV ซึ่งเป็นการระบุว่าเราต้องการควบคุมอุณหภูมิที่กระบวนการผลิตเท่าไร เช่น ตั้งไว้ 500ºC จากนั้นตัวควบคุมอุณหภูมิ ก็จะทำการเปรียบเทียบ หรือ หาผลต่างระหว่างค่า PV กับ SV

ปัจจัยสำคัญก่อนการเลือกปั๊มน้ำในงานอุตสาหกรรม

ปัจจัยสำคัญก่อนการเลือกปั๊มน้ำในงานอุตสาหกรรม

ปั๊มน้ำถือว่าเป็นปัจจัยหลักสำหรับการใช้น้ำของหลายๆ สถานที่เป็นอย่างมาก แม้ว่าน้ำประปาจะเป็นสิ่งที่ทุกบ้านหรือทุกโรงงานก็ต้องใช้เป็นเรื่องปกติอยู่แล้ว แต่การไม่มีปั๊มน้ำนั้นก็ทำให้รู้สึกว่าการใช้น้ำได้ไม่เต็มที่ ปั๊มน้ำจึงเป็นเสมือนกับตัวช่วยอีกแรงที่จะทำให้การใช้งานเพื่อกิจกรรมต่างๆ...

Fiber optic sensor คืออะไร

Fiber optic sensor คืออะไร

ไฟเบอร์ออฟติกเซนเซอร์ (Fiber Optic Sensor) เป็นอุปกรณ์ตรวจจับหรือตรวจวัดชิ้นงานรูปแบบหนึ่งโดยไม่สัมผัสกับวัตถุ ใช้หลักการทางด้านแสงในการตรวจจับ อาศัยหลักการวัดปริมาณของความเข้มของแสงที่กระทบกับวัตถุและสะท้อนกลับมายังตัวเซนเซอร์ สามารถตรวจจับวัตถุที่มีขนาดเล็กได้ดี

วิธีการตั้งค่า Parameter เมื่อใช้คำสั่ง Run & Stop (Forward & Reverse) จากภายนอก

วิธีการตั้งค่า Parameter เมื่อใช้คำสั่ง Run & Stop (Forward & Reverse) จากภายนอก

ในกรณีที่ต้องการสั่งงาน Run-Stop หรือคำสั่งเดินหน้า-ถอยหลังมอเตอร์ จากสัญญาณภายนอก สามารถทำได้โดยต่อสายไฟจากสวิทช์ ตามรูป และตั้งค่าพารามิเตอร์ Function F02 ให้มีค่าเป็น "1" ส่วนการกลับทิศทางการหมุนสามารถทำได้โดยการเลือกใช้ขั้ว FWD หรือ REV ในการสั่งเดินหน้าหรือหลังถอยตามลำดับ

การต่อใช้งานอินเวอร์เตอร์ FUJI

การต่อใช้งานอินเวอร์เตอร์ Fuji กับ Volume (R ปรับค่าได้) ปรับความเร็วจากภายนอก

Inverter (อินเวอร์เตอร์) ในกรณีที่ต้องการปรับความเร็วจากภายนอกตัวอินเวอร์เตอร์ โดยการใช้อุปกรณ์ตัวปรับรอบแบบ Volume (R ปรับค่าได้) สามารถทำได้โดยการต่อสายตามรูป จากนั้นให้ทำการปรับค่า Parameter ในตัวอินเวอร์เตอร์ Function F01 ให้มีค่าเป็น “1” เป็นอันเสร็จสมบูร์ สามารถจะสั่งปรับความเร็วรอบจากอุปกรณ์ โดยการต่อสายตามรูปด้านล่าง

มอเตอร์เกียร์คืออะไร

มอเตอร์เกียร์คืออะไร ? ใช้สำหรับทำอะไร ?

มอเตอร์เกียร์ (Gear Motor) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง โดยอาศัยหลักการทำงานจากมอเตอร์ในการแปลงพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกลเพื่อทำให้วัตถุเคลื่อนที่ และมีฟันเฟืองหรือเกียร์ทำหน้าที่ลดรอบความเร็วหรือทดรอบ และเพิ่มแรงบิดเพื่อให้สามารถขับงานได้ตามที่ต้องการ ปัจจุบันมอเตอร์เกียร์มีขนาดและรูปแบบที่หลากหลาย นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ เพื่อควบคุมงานเครื่องจักรอุตสาหกรรม อาทิ งานสายพานลำเลียง งานผสมวัตถุดิบ งานรอกเครน งานยก งานกวน งานปั่น ตีน้ำ เป็นต้น

การประยุกต์ใช้งาน Gear Motor กับสายพานลำเลียง

การประยุกต์ใช้งาน Gear Motor กับสายพานลำเลียง

Gear motor (มอเตอร์เกียร์) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แรงขับจากมอเตอร์ไฟฟ้า เพื่อให้สายพานเคลื่อนตัวไปอย่างต่อเนื่อง โดยวัสดุที่ใช้ในการลำเลียงจะวางอยู่บนสายพานหรือบนลูกกลิ้งที่ขั บหมุนด้วยสายพานเคลื่อนที่ ในการเคลื่อนย้ายวัสดุจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ซึ่งเป็นไปได้ทั้งแบบต่อเนื่องและหยุดชะงัก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการควบคุมในการขนย้ายได้ทั้งระยะสั้น ระยะยาว แนวระดับ แนวลาดเอียงขึ้น และลาดเอียงลงโดยสามารถเลือกปรับระดับความเร็วได้

ไฮดรอลิก (Hydraulic)

บทความ ไฮดรอลิก (Hydraulic Article) || สาระน่ารู้ เกี่ยวกับไฮดรอลิก (Hydraulic Knowledge)

ที่มาและความหมาย : คำว่า hydraulic (ไฮดรอลิก) มาจากรากศัพท์ของกรีก จากคำว่า (Hydraulikos) หรือ (Hydor) หมายถึง น้ำ และคำว่า au หรือ (aulos) หมายถึง ท่อวิชาไฮดรอลิก คือ วิชาที่เกี่ยวกับคุณสมบัติทางกลศาสตร์ของการไหลของของเหลวที่ถูกอัดด้วยความดัน อาจจะกล่าวได้ว่าไฮดรอลิก (Hydraulic) จะคล้ายคลึงกับ นิวเมติกส์เพียงแต่เปลี่ยนตัวกลางจากลมไปเป็น (Fluid Mechanics) หรือ ของเหลวนั่นเอง

ชุดกรองลมแบบต่างๆ (Air Service Devices)

ชุดกรองลมแบบต่างๆ Air Service Devices

ชุดกรองลมในระบบนิวเมติกส์ FRL มีชื่อเรียกแตกต่างกันหลายชื่อ เช่น ชุดกรองลม (Air Service Unit) ชุดเตรียมลม ชุดปรับปรุงคุณภาพลม (Air Preparation Unit)

วาล์วควบคุมทิศทาง (Directional Control Valve)

วาล์วควบคุมทิศทาง (Directional Control Valve)

วาล์วลม (Air Valve), วาล์วควบคุมทิศทางลม (Pneumatic Directional Control Valve) มีชื่อเรียกหลายชื่อบ้างก็เรียกว่าโซลินอยด์วาล์ว (Pneumatic Solenoid Valve) แต่บางคนก็จะเรียกโซลินอยด์วาล์ว โดยให้หมายถึงวาล์วควบคุมทิศทางแบบ 2/2 เท่านั้นก็มี

ข้อควรระวังในการติดตั้งกระบอกลม (Air Cylinder)

ข้อควรระวังในการติดตั้งกระบอกลม (Air Cylinder)

อายุการใช้งานของกระบอกลมเบื้องต้น (Actuator Air-Cylinder) มาจากการติดตั้งที่ถูกต้องข้อสำคัญคือ ก้านสูบต้องไม่ถูกแรงที่มีทิศทางที่ งัดลูกสูบ-โอริง-กระบอกลมซึ่งจะทำให้เกิดความเสียหายหรืออายุการใช้งานสั้นลง

การติดตั้งวาล์วควบคุมทิศทางที่ถูกวิธี

การติดตั้งวาล์วควบคุมทิศทางที่ถูกวิธี

การติดตั้งต้องคำนึงถึงทิศทางการสั่นสะเทือนต้องให้ทิศทางการสั่งสะเทือนไปในทิศทางขนาดกับด้านสั้นที่สุดของวาล์วและให้คอยล์อยู่ด้านบนสุดถ้าสามารถทำได้ เพราะทำให้ลิ้นวาล์ว (Spool) ไม่เคลื่อนที่ในทิศทาง ทำให้ลิ้นวาล์วเปลี่ยนตำแหน่ง และทำให้ลิ้นวาล์วเสียหายจากแรงกระแทรก และคอยล์ก็ไม่เสียหายด้วย นอกจากนี้เมื่อมีน้ำกลั่นตัวเป็นหยดน้ำจะได้ไหลลงจากคอยล์และไหลลงออกไปด้านใต้ ซึ่งอาจจะไม่มีระบบไฟฟ้าอยู่เลย หรือถ้ามีก็เป็นเพราะไม่มีทางเลือก และความเสียหายน้อยที่สุด

อุปกรณ์นิวเมติกส์ (Pneumatic Component) ที่ใช้ในท่อสาขา (In Brand Air Pipes)

อุปกรณ์นิวเมติกส์ (Pneumatic Component) ที่ใช้ในท่อสาขา (In Brand Air Pipes)

อุปกรณ์ที่ใช้งานในระบบนิวเมติกส์ ที่สำคัญ คือ

ชุดกรองลมดักน้ำ ชุดบริการลมอัด F.R.L Unit หรือ FRL Combination/ Preparation unit ใช้สำหรับปรับปรุงคุณภาพลม ที่ได้รับการลดฝุ่นและดักน้ำ ที่ออกมาจากปั๊มลม ซึ่งเต็มไปด้วยไอน้ำ และยังคงมีฝุ่นหลงเหลืออยู่ แม้จะผ่านการลดไอน้ำ และผ่านหม้อกรองลมหลัก (Main Filter) แล้วก็ตาม

ดาว์นโหลด แคตตาล็อก, สเป้กแอร์แทค
Promotion-Big Sale
ติดต่อเรา
TICTechnology Instrument 
www.tic.co.th
tupackT.U Pack 
www.tupack.co.th
Your LiftYour Lift 
www.yourlift.co.th